<?PHP // php การหาค่าสุดท้ายของ Array ด้วย end() // ตัวอย่างที่ 1 // ตัวแปร $carbrand_array เก็บค่า Array ที่เป็นยี่ห้อรถยนต์ $carbrand_array = array('Toyota', 'Nissan', 'BMW','Honda'); // ใช้ Function end() ในการแสดงค่า Array ตัวสุดท้ายออกมา echo end($carbrand_array); // ผลลัพพ์ // Honda ?>
Monthly Archives: August 2012
php ลบค่าใน Array ตัวที่ 1 ด้วย array_shift()
<?PHP // php ลบค่าใน Array ตัวที่ 1 ด้วย array_shift() // ตัวอย่างที่ 1 // ตัวแปร tele_array เก็บค่า Array ที่เป็นชื่อยี่ห้อโทรศัพท์ $tele_array = array('Iphone', 'HTC', 'Sony', 'Samsung', 'LG'); // ใช้ Function array_shift() ในการลบค่าใน Array ตัวที่ 1 ออก $tele_array_cut = array_shift($tele_array); // ใช้คำสั่ง print_r() เพื่อแสดงชื่อ Array และ จำนวนของแต่ละ Array ออกมา echo '<pre>'; // คำสั่ง <pre> ใช้สำหรับจัดรูปแบบการแสดงผล print_r($tele_array); echo '</pre>'; // ผลลัพพ์ /* Array ( [0] => HTC [1] => Sony [2] => Samsung [3] => LG ) */ ?>
php หาค่าที่อยู่ใน Array (ตรวจสอบว่าอยู่ใน Array หรือไม่) ด้วย array_search()
<?PHP // php หาค่าที่อยู่ใน Array (ตรวจสอบว่าอยู่ใน Array หรือไม่) ด้วย array_search() // โดยจะคืนค่ามาเป็นค่าArray นั้นๆ แต่ถ้าค้นหาไม่พบจะคืนค่ากลับมาเป็นค่า False // ตัวอย่างที่ 1 // ตัวแปร $brandcom_array เก็บค่า Array ที่เป็นชื่อยี่ห้อคอมพิวเตอร์ $brandcom_array = array('Acer', 'Dell', 'HP', 'Toshiba', 'Samsung'); // ใช้ Function array_search() ในการค้นหา โดยระบุ ชื่อ Array ที่ต้องการค้นหา $result_array = array_search('Toshiba', $brandcom_array); if($result_array!=FALSE){ echo 'ค้นพบคำว่า Toshiba'; } else { echo 'ค้นหาคำว่า Toshiba ไม่พบ!!'; } // ผลลัพพ์ // ค้นพบคำว่า Toshiba ?>