php ลบค่าใน Array ตัวที่ 1 ด้วย array_shift()

<?PHP
// php ลบค่าใน Array ตัวที่ 1 ด้วย array_shift()

// ตัวอย่างที่ 1
// ตัวแปร tele_array เก็บค่า Array ที่เป็นชื่อยี่ห้อโทรศัพท์
$tele_array = array('Iphone', 'HTC', 'Sony', 'Samsung', 'LG');

// ใช้ Function array_shift() ในการลบค่าใน Array ตัวที่ 1 ออก
$tele_array_cut = array_shift($tele_array);

// ใช้คำสั่ง print_r() เพื่อแสดงชื่อ Array และ จำนวนของแต่ละ Array ออกมา
echo '<pre>'; // คำสั่ง <pre> ใช้สำหรับจัดรูปแบบการแสดงผล
print_r($tele_array);
echo '</pre>';

// ผลลัพพ์

/*
Array
(
    [0] => HTC
    [1] => Sony
    [2] => Samsung
    [3] => LG
)
*/
?>

php หาค่าที่อยู่ใน Array (ตรวจสอบว่าอยู่ใน Array หรือไม่) ด้วย array_search()

<?PHP
// php หาค่าที่อยู่ใน Array (ตรวจสอบว่าอยู่ใน Array หรือไม่) ด้วย array_search()
// โดยจะคืนค่ามาเป็นค่าArray นั้นๆ แต่ถ้าค้นหาไม่พบจะคืนค่ากลับมาเป็นค่า False

// ตัวอย่างที่ 1
// ตัวแปร $brandcom_array เก็บค่า Array ที่เป็นชื่อยี่ห้อคอมพิวเตอร์
$brandcom_array = array('Acer', 'Dell', 'HP', 'Toshiba', 'Samsung');

// ใช้ Function array_search() ในการค้นหา โดยระบุ ชื่อ Array ที่ต้องการค้นหา
$result_array   = array_search('Toshiba', $brandcom_array); 

if($result_array!=FALSE){
 echo 'ค้นพบคำว่า Toshiba';
}
else
{
 echo 'ค้นหาคำว่า Toshiba ไม่พบ!!';
}

//  ผลลัพพ์
//  ค้นพบคำว่า Toshiba
?>

php หาค่าที่เหมือนกัน ระหว่าง 2 Array (หรือมากกว่า 2 Array) ด้วย array_intersect()

<?PHP
// php หาค่าที่เหมือนกัน ระหว่าง 2 Array (หรือมากกว่า 2 Array) ด้วย ฟังก์ชัน array_intersect()
// แต่จะยึด Array ชุดแรกในการเปรียบเทียบ และคืนค่ากลับมาเป็นค่าที่อยู่ใน Array ชุดแรกเท่านั้น

// ตัวอย่างที่ 1
// ตัวแปร $browser_array_1 ,  $browser_array_2 เก็บค่า Array ที่เป็นชื่อ browser
$browser_array_1 = array('Internet Explorer', 'Mozilla Firefox', 'Safari', 'Google Chrome', 'Maxthon');

$browser_array_2 = array('Google Chrome', 'Flock', 'Maxthon', 'Internet Explorer', 'Opera');

// ใช้ฟังก์ชัน array_intersect() แล้วใส่ค่า Array ที่ต้องการเปรียบเทียบเข้าไป
$resultArray = array_intersect($browser_array_1,$browser_array_2);

// ใช้คำสั่ง print_r() เพื่อแสดง Key Array และ รายชื่อ Array ออกมา
echo '<pre>'; // คำสั่ง <pre> ใช้สำหรับจัดรูปแบบการแสดงผล
print_r($resultArray);
echo '</pre>';

// ผลลัพพ์

/*
Array
(
    [0] => Internet Explorer
    [3] => Google Chrome
    [4] => Maxthon
)
*/
?>

php นับจำนวนข้อมูลใน Array (โดยแบ่งตามค่า) ด้วย array_count_values()


<?PHP
// php นับจำนวนข้อมูลใน Array (โดยแบ่งตามค่า) ด้วย array_count_values()
// เป็นฟังก์ชันที่ใช้นับจำนวนข้อมูลใน Array ถ้ามีข้อมูลใดซ้ำกันจะนับรวมกัน

// ตัวอย่างที่ 1
// ตัวแปร $cms_array เก็บค่า Array ที่เป็นชื่อ CMS
$cms_array = array('Wordpress', 'Joomla', 'Drupal', 'Wordpress', 'SilverStripe', 'CushyCMS', 'Drupal');

// ใช้คำสั่ง print_r() เพื่อแสดงชื่อ Array และ จำนวนของแต่ละ Array ออกมา
echo '<pre>';
print_r(array_count_values($cms_array));
echo '</pre>';

// ผลลัพพ์
// ตัวอย่างการแสดงผล เช่น WordPress นับจำนวนที่ซ้ำกันได้ = 2 ค่า

/*Array
(
    [Wordpress] => 2
    [Joomla] => 1
    [Drupal] => 2
    [SilverStripe] => 1
    [CushyCMS] = > 1
)*/
?>

php เพิ่มข้อมูลเข้าไปใน Array ด้วย array_push()


<?PHP
// php เพิ่มข้อมูลเข้าไปใน Array ด้วย array_push()

// ตัวอย่างที่ 1
// ตัวแปร $social_array เก็บค่า Array ที่เป็นชื่อ Social Network
$social_array = array('Facebook', 'Twitter', 'GooglePlus');

// ใช้ Function array_push() ในการเพิ่มค่า Flickr เข้าไปในตัวแปร Array  $social_array
array_push($social_array,'Flickr');

// ใช้คำสั่ง print_r() แสดงค่าจำนวน Array ทั้งหมดออกมา
print_r($social_array);

// ผลลัพพ์

// Array ( [0] => Facebook [1] => Twitter [2] => GooglePlus [3] => Flickr
?>

php ตัดข้อมูลซ้ำใน Array ด้วย array_unique()


<?PHP
// php ตัดข้อมูลซ้ำใน Array ด้วย array_unique()

// ตัวอย่างที่ 1
// ตัวแปร $fruit_array เก็บค่า Array ที่เป็นผลไม้ ซึ่งมีค่าที่ซ้ำกับ 2 ค่าคือ มะพร้าวและกล้วย
$fruit_array = array('ส้ม', 'กล้วย', 'มะละกอ','มังคุด', 'มะพร้าว', 'องุ่น','มะพร้าว','กล้วย');

// ใช้ Function array_unique() ในการตัดค่าที่ซ้ำออกไป
$fruit_array = array_unique($fruit_array);

// ใช้คำสั่ง print_r() แสดงค่าจำนวน Array ที่เหลือออกมา
print_r($fruit_array);

// ผลลัพพ์

// Array ( [0] => ส้ม [1] => กล้วย [2] => มะละกอ [3] => มังคุด [4] => มะพร้าว [5] => องุ่น )
?>

php ตรวจสอบตัวแปรว่าเป็น Array หรือไม่ ด้วย is_array()


<?PHP
// php ตรวจสอบตัวแปรว่าเป็น Array หรือไม่ ด้วย is_array()

// ตัวอย่างที่ 1
// ตัวแปร $my_array เก็บค่า Array ที่เป็นชื่อวงดนตรี
$my_array = array('Linkinpark','Greenday');

// ใช้ Function is_array() ตรวจสอบตัวแปรว่าเป็น Array หรือไม่
$check_array = is_array($my_array);

// ใช้คำสั่ง if ในการตรวจสอบแสดงผลออกมา
if($check_array){
   echo "ตัวแปรนี้ เป็นตัวแปร Array ล้าน %"; // Return ค่า True
}
else
{
  echo "ตัวแปรนี้ ไม่เป็นตัวแปร อย่างแน่นอน"; // Return ค่า False
}

// ผลลัพพ์ = ตัวแปรนี้ เป็นตัวแปร Array ล้าน %
?>

php การนับจำนวนของ Array ด้วย count()


<?PHP
// php การนับจำนวนของ Array ด้วย count()

// ตัวอย่างที่ 1
// ตัวแปร $programming_array เก็บค่า Array ที่เป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรม
$programming_array = array('php', 'c++', 'vb','java', 'c#', 'perl');

// ใช้ Function count() ในการนับค่า Array
echo count($programming_array); // ผลลัพพ์ = 6
?>